ไทยก้าวไกล วิจัยผลิตหินดวงจันทร์เทียม

12 ม.ค.

ไทยก้าวไกล วิจัยผลิตหินดวงจันทร์เทียม

ถ้าหากใครที่ติดตามข่าวสารเทคโนโลยีอวกาศคงจะได้เห็นข่าวนาซ่ากำลังเตรียมภารกิจอาทิตย์ส่งมนุษย์กลับไปดวงจันทร์อีกครั้งในเร็วๆนี้สินค้าลดครั้งนี้คงไม่ได้ไปเที่ยวเย็นๆอาจจะเป็นการไปศึกษาหารูปทางเพื่อให้มนุษย์สามารถตั้งถิ่นฐานอยู่บนดวงจันทร์ในระยะยาวได้ดังนั้นเพื่อให้มนุษย์พร้อมที่จะไปดวงจันทร์ได้จริงๆที่ผ่านมาเราจึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับดวงจันทร์ให้ได้มากที่สุดและหนึ่งในนั้นก็คือการเก็บตัวอย่างทรัพยากรบนดวงจันทร์กลับมาศึกษา

         ซึ่งก็คือหินและฝุ่นดินเพื่อที่จะได้วางแผนพัฒนาอุปกรณ์ที่ใช้หรือแม้กระทั่งเพิ่มโอกาสการอยู่รอดบนดวงจันทร์ให้ได้

อย่างไรก็ตามการเก็บตัวอย่างหินและฝุ่นบนดวงจันทร์จากมาปริมาณมากๆ ในแต่ละครั้งก็ยังต้องเผชิญกับอุปสรรคและข้อจำกัดบางอย่างรวมถึงปริมาณของตัวอย่างที่เก็บมานั้นก็ไม่เพียงพอต่อความต้องการในการศึกษา จึงทำให้นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกต่างพยายามที่จะเรียนแบบหินและฝุ่นบนดวงจันทร์ขึ้นมาจนกลายเป็นหินดวงจันทร์เทียมหรือหินดวงจันทร์จำลองนั้นเอง

         ดังนั้นเห็นดวงจันทร์จำลองเลยเห็นดวงจันทร์เทียมจึงเป็นหินที่สร้างขึ้นจากวัสดุที่มีอยู่ในโลกโดยกำหนดคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีให้คล้ายคลึงจะกินดวงจันทร์จริงๆมากที่สุดโดยอ้างอิงจากข้อมูลของตัวอย่างหินดวงจันทร์ที่ถูกเก็บมาจากภารกิจจริงๆเช่นอพอลโล 11

          ณ วันนี้ก็เป็นที่น่าภูมิใจที่ประเทศไทยของเรามีทีมที่ประสบความสำเร็จในการพัฒนาเห็นดวงจันทร์เทียมนี้เหมือนในต่างประเทศแล้วเช่นกันจ้ากว่าจะได้เป็นหินดวงจันทร์เทียมแบบนี้ได้ทางทีมพัฒนาจะต้องเริ่มตั้งแต่กระบวนการศึกษาหัวหินแบบไหนถึงจะใกล้เคียงดวงจันทร์มากที่สุดซึ่งจะได้คำตอบว่าต้องเป็นหินบะซอลต์ซึ่งส่วนใหญ่พบที่บริเวณภาคอีสานและภาคตะวันออกของไทย

           ซึ่งทีมพัฒนาเลือกลงพื้นที่จังหวัดตราดและจังหวัดจันทบุรีเพื่อทำการเก็บหินตัวอย่างและทางทีมก็ทุ่มทุนเต็มที่ถึงขั้นไปเสาะหากันทั้งในเหมืองตามชายฝั่งทะเลหรือแม้กระทั่งในป่าเพื่อตามหาเห็นที่ดีที่สุดเหมาะสมที่สุดสำหรับนำมาพัฒนาต่อด้วยหลังจากลงพื้นที่เก็บหินที่ต้องการได้แล้วก็ต้องนำมาผ่านกระบวนการทุกและบดให้หินมีลักษณะเป็นฝุ่นผงละเอียดคล้ายคลึงกับผิวดวงจันทร์และยิ่งเม็ดฝุ่นมีความละเอียดมากเท่าไหร่ก็ยิ่งเอาไปประยุกต์ใช้งานต่อได้ง่ายมากขึ้นเท่านั้น

          ถ้าขั้นตอนนี้ก็จะนำหินไปผ่านกระบวนการ การใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนในการส่องผ่านของหินเนื้อและสภาพภายในและจะต้องผ่านกระบวนการทางเคมีรวมถึงการตรวจสอบในขั้นสุดท้ายเพื่อให้แน่ใจว่าได้เห็นดวงจันทร์เทียมที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงหินบนดวงจันทร์จริงๆมากที่สุด 

          

สนับสนุนโดย.    gclub ผ่านเว็บ